knowledgertraining.com
Change Language to
หน้าแรก
หลักสูตรและตารางอบรม
วิทยากร
บริการของเรา
ติดต่อลงทะเบียน
ลงทะเบียนและชำระเงิน
ติดต่อเรา
สถานที่อบรม
STORE
PMP HALL OF FAME
UPCOMING COURSES
> PMP Int: Intensive PMP Exam Preparation-Guarantee 4-5, 10-12, 29 Mar, 7 May 2021
> PMO: Set up and Sustain Project Management Office 25-26 Mar 2021
> MPO: Microsoft Project Online 21-23 April 2021
> MSP: Manage Project with Microsoft Project 5-6 May 2021
> PMP Free: PMP Exam Preparation-Free 8 May 2021
> PMF: Project Management Fundamental 10-11 May 2021
> PRT: Project Management Practitioner 10-12 May 2021
> PRO: Project Management Professionals 10-12, 31 May, 1-2 Jun 2021
> PMM: Project Management Master 10-12, 31 May, 1-2, 28-30 Jun 2021
> PMA: Project Management Advance 31 May, 1-2 Jun 2021
ARTICLES
More Articles
> แนวทางการสร้าง Informal Power ในการบริหารโครงการ
> แนวข้อสอบ PMP ใหม่ (เริ่มใช้ 2 มกราคม 2021)
> Servant Leadership ทักษะที่จำเป็นสำหรับ ScrumMaster ในการบริหารโครงการแบบ Scrum
> การสร้างวัฒนธรรม Self Organizing Team สิ่งจำเป็นสำหรับการบริหารโครงการแบบ Agile
> อุปสรรคสำคัญในการเริ่มต้น นำการบริหารโครงการแบบ Agile มาใช้ในองค์กร
> เทคนิควิธีการเลือก Life Cycle ของ โครงการ (Waterfall หรือ Agile ดีหล่ะ)
> เทคนิคการสอบเพื่อ Certified PMP
> 6 ทักษะสำหรับ Project Manager ขั้นเทพ
> 7 ทักษะพื้นฐานสุดๆ สำหรับ Project Manager ป้ายแดง
> 8 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน PMO ระดับเริ่มต้น
> การบริหารความขัดแย้งใน โครงการ
DOWNLOAD
TRAINING LOCATION
CROSSWORD
STORE
PMP HALL OF FAME
UPCOMING COURSES
> PMP Int: Intensive PMP Exam Preparation-Guarantee 4-5, 10-12, 29 Mar, 7 May 2021
> PMO: Set up and Sustain Project Management Office 25-26 Mar 2021
> MPO: Microsoft Project Online 21-23 April 2021
> MSP: Manage Project with Microsoft Project 5-6 May 2021
> PMP Free: PMP Exam Preparation-Free 8 May 2021
> PMF: Project Management Fundamental 10-11 May 2021
> PRT: Project Management Practitioner 10-12 May 2021
> PRO: Project Management Professionals 10-12, 31 May, 1-2 Jun 2021
> PMM: Project Management Master 10-12, 31 May, 1-2, 28-30 Jun 2021
> PMA: Project Management Advance 31 May, 1-2 Jun 2021
ARTICLES
More Articles
> แนวทางการสร้าง Informal Power ในการบริหารโครงการ
> แนวข้อสอบ PMP ใหม่ (เริ่มใช้ 2 มกราคม 2021)
> Servant Leadership ทักษะที่จำเป็นสำหรับ ScrumMaster ในการบริหารโครงการแบบ Scrum
> การสร้างวัฒนธรรม Self Organizing Team สิ่งจำเป็นสำหรับการบริหารโครงการแบบ Agile
> อุปสรรคสำคัญในการเริ่มต้น นำการบริหารโครงการแบบ Agile มาใช้ในองค์กร
> เทคนิควิธีการเลือก Life Cycle ของ โครงการ (Waterfall หรือ Agile ดีหล่ะ)
> เทคนิคการสอบเพื่อ Certified PMP
> 6 ทักษะสำหรับ Project Manager ขั้นเทพ
> 7 ทักษะพื้นฐานสุดๆ สำหรับ Project Manager ป้ายแดง
> 8 บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน PMO ระดับเริ่มต้น
> การบริหารความขัดแย้งใน โครงการ
DOWNLOAD
TRAINING LOCATION
CROSSWORD
ความเหมือนที่แตกต่างระหว่าง Project Manager และ Business Analyst
Project Manager (PM)
คือ ผู้นำของทีมงานให้สามารถส่งมอบโซลูชั่นหรือแนวทางการแก้ไขปัญหา ได้สำเร็จตามเป้าหมายของโครงการ ภายใต้เงื่อนเวลา งบประมาณ และขอบเขตงานที่กำหนดไว้
Business Analyst (BA)
คือ ผู้นำของทีมงานให้สามารถค้นหาความต้องการที่แท้จริง พร้อมทั้งทำให้มั่นใจว่าโซลูชั่นที่ใช้งานนั้นมีความถูกต้อง สามารถตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้จริง
ทั้งสองบทบาทที่กล่าวมานั้น อาจมีบางกิจกรรมที่เกิดขึ้นในโครงการที่มีความเหมือนหรือมีความทับซ้อนกับของทั้ง PM และ BA ทำให้บางครั้งผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการต่างสงสัยว่า กิจกรรมที่ทับซ้อนนั้นบทบาทใดควรรับผิดชอบ ซึ่งขึ้นกับบริบทขององค์กรนั้นว่าจะกำหนดให้ใครทำ โดยส่วนใหญ่องค์กรเลือกที่จะแบ่งแยกกิจกรรมที่ทับซ้อนให้ใครคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน เพื่อให้ง่ายแก่การมอบหมายงานและประเมินผลงาน
แผนภาพแสดงความแตกต่างระหว่าง PM และ BA รวมถึงการทับซ้อนของทั้งสองบทบาท
นอกจากนี้ หลายองค์กรมีการตั้งคำถามว่า ในหนึ่งโครงการควรจะมอบหมายให้ใครคนใดคนหนึ่งมีบทบาทเป็นทั้ง PM และ BA หรือว่าควรแยกบทบาททั้งสองออกมาอย่างชัดเจน ในกรณีที่ต้องการมอบหมายให้มีบทบาททั้งสองอย่างให้กับใครคนใดคนหนึ่งนั้น ควรพิจารณาปัจจัยดังต่อไปนี้
โครงการควรมีขนาดเล็ก เล็กในที่นี้หมายถึงจำนวนชั่วโมงที่ใช้น้อย ค่าใช้จ่ายน้อย หรือขอบเขตของงานในโครงการมีไม่มาก เมือเทียบกับขนาดโครงการปกติขององค์กรนั้น
โครงการที่มีการจำกัดการใช้งานทรัพยากร ทั้งในแง่ของกำลังคน หรืองบประมาณที่ใช้ จึงเป็นปัจจัยที่บังคับให้ทีมงานอาจจะต้องรับบทบาทมากกว่าหนึ่งอย่าง
ทัศนคติในการทำงานที่เน้นความร่วมมือกัน แนวคิดนี้ทำให้ทุกคนในทีมต้องสามารถทำงานได้มากกว่าหนึ่งบทบาทและเป็นการช่วยเหลือกันตลอดเวลา โดยไม่แบ่งแยกบทบาทและหน้าที่ระหว่างคนในทีม
โครงการที่มีความเสี่ยงต่ำ โดยความเสี่ยงอาจจะพิจารณาในมิติของผลกระทบที่ได้รับ หรือ โอกาสที่จะได้รับความเสี่ยงในเชิงลบ
โครงการนั้นมีผลกระทบกับกลุ่มผู้ใช้งานน้อยราย ยกตัวอย่างเช่น บางโครงการอาจจะเกี่ยวเนื่องกับแผนกที่ใช้งานประมาณ 1-3 แผนก ทำให้เกิดความง่ายในการบริหารโครงการ และการจัดเก็บความต้องการของผู้ใช้งาน
ทั้งสองบทบาทนี้ ไม่ว่าจะแยกหรือรวมไว้ในคนใดคนหนึ่งนั้น สิ่งสำคัญคือทั้งสองบทบาทควรช่วยเหลือซึ่งกันและกันอยู่ตลอดเวลา เพื่อที่จะให้โครงการที่ส่งมอบให้กับผู้ใช้งานนั้น สามารถเสร็จได้ตามเงื่อนเวลา งบประมาณ และขอบเขตงานที่กำหนดไว้ รวมถึงมีความถูกต้อง สามารถตอบสนองความต้องการที่แท้จริงให้กับผู้ใช้งานได้
Suthiphan Sikasemwong, PMP
×
Line Chat
Line
line ID :
@ecomsiam
Scan QR code หรือกด Add friend ได้ที่
https://line.me/R/ti/p/%40yel6714y